ยางพารา
ความต้องการธาตุอาหารของยางพารา
ธาตุ | ใบยางพาราจากต้นที่มีอายุ | ||
กล้ายาง | 1 - 5 ปี | มากกว่า 5 ปี | |
ไนโตรเจน (%) | 1.61 - 2.26 | 3.13 - 3.90 | 3.31 - 3.90 |
ฟอสฟอรัส (%) | 0.118 - 0.134 | 0.18 - 0.29 | 0.20 - 0.27 |
โพแทสเซียม (%) | 0.60 - 0.91 | 0.97 - 1.60 | 1.37 - 1.85 |
การใช้ปุ๋ยทางดินกับยางพารา
การใช้ปุ๋ยทางดินมี 3 แนวทาง
1. พิจารณาจากระยะการเจริญเติบโต (ก่อนเปิดกรีดหรือหลังเปิดกรีด) และเขตการปลูกยาง
(เขตการปลูกยางเดิมหรือเขตปลูกยางใหม่) ซึ่งใช้อัตราปุ๋ยธาตุหลัก (กิโลกรัม/ไร่/ปี)
เขตปลูกยาง | เนื้อดิน | ปริมาณธาตุอาหาร (กิโลกรัม/ไร่/ปี) | |||
ไนโตรเจน | ฟอสฟอรัส | โพแทสเซียม | รวม | ||
ยางก่อนเปิดกรีด | |||||
เขตปลูกยางเดิม | ดินร่วนเหนียว | 7.0 | 2.8 | 7.0 | 16.8 |
ดินร่วนทราย | 9.6 | 3.9 | 9.6 | 23.1 | |
เขตปลูกยางใหม่ | ดินร่วนเหนียว | 5.5 | 2.7 | 3.3 | 11.5 |
ดินร่วนทราย | 7.7 | 2.7 | 6.6 | 17.0 | |
ยางหลังเปิดกรีด | |||||
ทุกเขตปลูกยาง | ดินทุกชนิด | 22.8 | 3.8 | 13.7 | 40.3 |
2. พิจารณาจากเนื้อดินในพื้นที่ปลูกยางและอายุของต้นยาง (1 - 6 ปี) สำหรับสูตรปุ๋ย
และอัตราปุ๋ยสำหรับยางพาราที่ปลูกในดินซึ่งมีเนื้อดินต่างกัน
สูตร/อัตราปุ๋ย | ยางก่อนเปิดกรีด/เขตปลูก ยางเดิม |
ยางก่อนเปิดกรีด/เขตปลูก ยางใหม่ |
ยางหลังเปิดกรีด | ||
ดินร่วนเหนียว | ดินร่วนทราย | ดินร่วนเหนียว | ดินร่วนทราย | ดินทุกชนิด | |
สูตรปุ๋ย | 20-8-20 | 20-8-20 | 20-10-12 | 20-10-17 | 29-5-18 |
อัตราปุ๋ย ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 |
23 34 35 37 40 41 |
31 47 49 50 55 56 |
18 26 27 27 31 31 |
23 31 32 37 43 50 |
76 76 76 76 76 76 |
3. พิจาณาจากผลการวิเคราะห์ดิน ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ที่เป็น
ประโยชน์ในดินซึ่งแบ่งเป็น 12 แบบ ชาวสวนยางที่มีผลการวิเคราะห์ดินก็นำผลที่ได้รับมา
เปรียบเทียบกับข้อมูล แล้วเลือกอัตราปุ๋ยธาตุหลักที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ดิน
แบบ | ค่าวิเคราะห์ดิน | ปริมาณธาตุอาหาร (กก./ไร่/ปี) | ||||
ไนโตรเจน | ฟอสฟอรัส | โพแทสเซียม | ไนโตรเจน | ฟอสฟอรัส | โพแทสเซียม | |
1 2 3 4 |
< 0.11 < 0.11 < 0.11 < 0.11 |
< 11 < 11 > 11 > 11 |
< 40 > 40 < 40 > 40 |
22.8 22.8 22.8 22.8 |
7.6 7.6 3.8 3.8 |
18.2 13.7 18.2 13.7 |
6 7 8 |
0.11 - 0.25 0.11 - 0.25 0.11 - 0.25 |
< 11 > 11 > 11 |
> 40 < 40 > 40 |
16.7 16.7 16.7 |
7.6 3.8 3.8 |
13.7 18.2 13.7 |
9 10 11 12 |
> 0.25 > 0.25 > 0.25 > 0.25 |
< 11 < 11 > 11 > 11 |
< 40 > 40 < 40 > 40 |
11.4 11.4 11.4 11.4 |
7.6 7.6 3.8 3.8 |
18.2 13.7 18.2 13.7 |
การใช้ผลิตภัณฑ์แอมเวย์เพื่อฟื้นฟูสภาพดินในสวนยางพารา
สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ฟื้นฟูสภาพดิน โดยใช้แอ็ปซ่า-80 อัตรา 10 - 20 ซีซี และนิวทริแพลนท์ ซอยล์ พลัส อัตรา 100 ซีซี/น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นพื้นที่ประมาณ 1 ไร่
การใช้แอ็ปซ่า-80 และนิวทริแพลนท์ ซอยล์ พลัส ร่วมกับปุ๋ยทางดินใน สวนยางพารา แอ็ปซ่า-80 ใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อให้ทางดิน โดยใช้อัตรา 100 ซีซี นิวทริแพลนท์ ซอยล์ พลัส อัตรา 100 ซีซี ผสมน้ำประมาณ 700 - 1,000 ซีซี รดลงในกระสอบบรรจุ ปุ๋ย 50 กิโลกรัม ทิ้งไว้ 8 - 12 ชั่วโมง ก่อนนำไปหว่าน จะช่วยให้ปุ๋ยซึมลงสู่ดินได้ดีขึ้น **ไม่แนะนำให้ใช้กับปุ๋ยละลายเร็ว เช่น ปุ๋ยยูเรียและ ปุ๋ยน้ำตาลทราย |
การใช้ปุ๋ยทางใบกับยางพารา
แม้ชาวสวนยางพาราจะบำรุงดินด้วยปุ๋ยทางดินแล้วก็ตาม แต่ต้นยางพาราอาจจะได้รับธาตุอาหารไม่เพียงพอ เป็นเหตุให้เจริญเติบโตช้าหรือให้น้ำยางน้อย การใช้ปุ๋ยทางใบที่ดีและใช้อย่างถูกต้อง เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ต้นยางเจริญเติบโตดีขึ้นและให้ผลผลิตน้ำยางมากขึ้นด้วย
การใช้ผลิตภัณฑ์แอมเวย์ฉีดพ่นทางใบเพิ่มผลผลิตให้ยางพารา
สูตร | ยางพารายังไม่เปิดกรีด ฉีดพ่นเดือนละ 1 ครั้ง |
ยางพาราเปิดกรีดแล้ว ฉีดพ่นทุก 15 วัน |
|
20-10-12 (ดินเหนียว) | 20-10-20 (ดินทราย) | 30-5-18 ดินทุกประเภท | |
APSA-80 | 2 - 3 ซีซี | 2 - 3 ซีซี | 2 - 3 ซีซี |
N | 60 ซีซี | 60 ซีซี | 35 ซีซี |
N-P-K | 55 ซีซี | 55 ซีซี | 10 ซีซี |
K | 10 ซีซี | 35 ซีซี | 20 ซีซี |
AG | 30 ซีซี | 30 ซีซี | 30 ซีซี |
Ca-B | 40 ซีซี | 40 ซีซี | 30 ซีซี |
การใช้แอ็ปซ่า-80 ร่วมกับสารกำจัดศัตรูพืชในสวนยางพารา
ชนิดของสารเคมี | อัตราการใช้แอ็ปซ่า-80 ต่อน้ำ 20 ลิตร | อัตราการใช้แอ็ปซ่า-80 ต่อน้ำ 200 ลิตร |
สารป้องกันกำจัดแมลง | 2 - 5 ซีซี | 20 - 50 ซีซี |
สารกำจัดวัชพืช | 5 - 10* ซีซี | 50 - 100* ซีซี |
สารกำจัดโรคพืช | 2 - 5 ซีซี | 20 - 50 ซีซี |